วันจันทร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2554


ระบบการขนส่งอวกาศ
การส่งดาวเทียมและ ยานอวกาศแต่ละครั้ง ทั้งจรวดและดาว เทียม ไม่สามารถนำกลับลง มาซ่อมบำรุงหรือใช้ ใหม่ได้ ทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้ จ่ายในการสำรวจอวกาศสูงมาก


ในปี พ.ศ.2446 ไชออลคอฟสกี ชาวรัสเซีย ผู้ค้นคว้าเรื่องเพลิงจรวด เสนอว่า “การใช้เชื้อเพลิงแข็งจะไม่มีแรงขับดันสูงพอที่จะนำยานอวกาศพ้นจากพื้นโลกขึ้นสู่อวกาศได้ ควรใช้เชื้อเพลิงเหลว และแยกออกจากกัน”


ในปี พ.ศ.2469 โรเบิร์ต กอดดาร์ด ชาวอเมริกา ประสบความสำร์จในการสร้างจรวดเชื้อเพลิงเหลว โดยใช้ออกซิเจนเหลวเป็นสารที่ช่วยในการเผาไหม้อยู่ภายถังหนึ่งและไฮโดรเจนเหลวเป็นเชื้อเพลิงอีกถังหนึ่ง สหภาพโซเวียตประสบความสำเร็จในการใช้จรวดสามท่อนเชื้อเพลิงเหลวส่งจรวดออกสู่อวกาศ ชื่อ สปุกนิก 1 เป็นชาติแรก


มนุษย์เฝ้ามอง สังเกต ศึกษาท้องฟ้าและดวงดาวด้วยตาเปล่ามาเนิ่นนาน ด้วยความสงสัยในความมหัศจรรย์บนท้องฟ้า มีการคิดค้น สร้างเครื่องมือที่จะดูดาวให้ไกลออกไป คือ สร้างกล้องโทรทรรศน์เพื่อเพิ่มประสิทธิ์ภาพการสังเกต ทำให้รู้จักดวงดาวและท้องฟ้ามากยิ่งขึ้น


ประเทศอเมริกาประสบความสำเร็จในโครงการApollo โดยเฉพาะยานApollo 11สามารถไปลงบนดวงจันทร์ได้

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับครู




วันนี้ (30 มี.ค.2553) สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ในปีนี้ เวียดนามจะเริ่มก่อสร้างอวกาศแห่งชาติเวียดนาม มูลค่าประมาณ 400 ล้านดอลลาร์ โครงการนี้ได้อนุมัติจากรัฐบาลตั้งแต่ในปี 2549 จะเป็นรากฐานสำคัญของ “ยุทธศาสตร์การวิจัยและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางอวกาศ ปี 2563” และ ยุทธศาสตร์ดังกล่าวมุ่งหวังที่ออกแบบนโยบายระดับชาติ และกรอบกฎหมายสำหรับการวิจัยและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ เพื่อให้ดำเนินการจัดหาบุคลากรและการลงทุนสำหรับงานในด้านนี้ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขั้นเริ่มต้นเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอวกาศ เช่น สถานีรับและประมวลผลภาพถ่ายจากดาวเทียม และสถานีเครือข่ายดาวเทียม ในขณะที่ ...